7 จุด เช็คอิน ตลาดจีนซากแง้ว
201
7 จุดเช็คอิน ตลาดจีนซากแง้ว
มาแล้วไม่ควรพลาด.... 7 สถานที่ต้องแวะมาถ่ายภาพ ก่อนอื่นต้องทราบก่อนว่า ตลาดจีนซากแง้ว อยู่ตรงไหน เปิดเมื่อไร ประวัติความเป็นมาอย่างไร จะได้ไม่พลาดสิ่งสำคัญๆ
ล
ตลาดจีนซากแง้ว เปิดทุกวันเสาร์ เริ่ม ประมาณ บ่าย 3 - 3 ทุ่ม ช่วงบ่าย 3 จะเริ่มตั้งร้านกันบ้างแล้ว แต่แดดยังร้อนอยู่ แอดฯ ไม่แนะนำมาชข่วงนี้ เพราะร้อน... เริ่มสัก 4-5 โมงเย็นกำลังดี เดินเท้าสัก 1 ชม เริ่มหิว แวะหาอะไรๆอร่อยทานได้กำลัง ก่อนเข้าที่พัก แถวพัทยา เพราะคนส่วนใหญ่เดินทางมาเที่ยวพัทยาและแวะมา
ตลาดจีนซากแง้ว อยู่ห่างจากแถวหาดจอมเทียน ประมาณ 15 กม. หรือ ขับรถประมาณ 25 นาทีมาทางหัวยใหญ่ (GPS 12.8322, 100.9663) หา google ช้อมูลเพิ่มเติม https://www.gplace.com/968301
ตลาดจีนซากแง้ว คำว่า “ชาก” ตามพจนานุกรม แปลว่าที่ราบลุ่ม มีความอุดมสมบูรณ์ เหมาะแก่การทำการเกษตร ส่วนคำว่า “แง้ว” ได้มาจากการที่พื้นที่นี้เคยเป็นป่า มีต้นนุ่นที่หนามแหลมมากมาย ชาวบ้านเรียกว่า “งิ้วแง้ว” จึงเป็นที่มาของชื่อหมู่บ้านชากแง้ว คนจีนเรียกว่า “หลง ฉั่ง งิ่ว"
ชุมชนนี้เป็นพื้นที่ที่ชาวจีนแต้จิ๋วอพยพมาตั้งถิ่นฐานอยู่ร่วมกับคนไทยเชื้อสายจีน จากพื้นที่ปลูกมันสำปะหลังเป็นพืชหลัก ค่อยๆ เจริญเติบโตเป็นย่านการค้าที่รุ่งเรือง มีโรงงานโม่แป้ง มีแรงงานจากทั่วทุกสารทิศ กระทั่งเมื่อมีการสร้างถนนสุขุมวิทจึงเกิดความเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ นั่นคือความเจริญและสิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ ย้ายไปที่ตัวเมืองพัทยา แต่ด้วยความเข้มแข็งของชุมชนที่ร่วมใจสืบทอด รักษาวิถีชีวิตและอัตลักษณ์แบบชุมชนจีนดั้งเดิม ปัจจุบันจึงเปิดเป็นถนนสายวัฒนธรรมไทย-จีนโบราณ
ที่จอดรถ มีหลายจุดใกล้ทางเข้าในแต่ละซอย หาไม่ยาก มีเพียงพอต่อความต้องการ ที่จอดรถฟรี:
- จุดที่ 1 (12.83370473237693, 100.96392988746648) ใกล้ทางเข้าโรงหนังเก่า
- จุดที่ 2 (12.831975305661878, 100.96740604278685) ใกล้ท้ายตลาด
- จุดที่ 3 (12.833701302295495, 100.9670678472811) .ใกล้ทางเข้าหลังศาลเจ้าฯ
ก๋วยเตี๋ยว กวยจั๊บ พะโล้ ข้าวต้มปลา ขนมเบื้องญวน หมี่กรอบ กุยช่าย หอยจ๊อ กะลอจี๊ ก๋วยบะแต้จิ๋ว บ๊ะจ่าง ขนมเปี๊ยะ สารพัดอาหารให้เลือกรับประทาน รวมทั้งอาหารไทยพื้นบ้าน เช่น ขนมครก ขนมไทยโบราณ ราคาไม่แพง ที่พลาดไม่ได้คือ บ๊ะจ่าง กุยช่าย เป็ดพะโล้ กะลอจี๊
มาแล้วไม่ควรพลาด.... 7 สถานที่ต้องแวะมาถ่ายภาพ ก่อนอื่นต้องทราบก่อนว่า ตลาดจีนซากแง้ว อยู่ตรงไหน เปิดเมื่อไร ประวัติความเป็นมาอย่างไร จะได้ไม่พลาดสิ่งสำคัญๆ
ล
ตลาดจีนซากแง้ว เปิดทุกวันเสาร์ เริ่ม ประมาณ บ่าย 3 - 3 ทุ่ม ช่วงบ่าย 3 จะเริ่มตั้งร้านกันบ้างแล้ว แต่แดดยังร้อนอยู่ แอดฯ ไม่แนะนำมาชข่วงนี้ เพราะร้อน... เริ่มสัก 4-5 โมงเย็นกำลังดี เดินเท้าสัก 1 ชม เริ่มหิว แวะหาอะไรๆอร่อยทานได้กำลัง ก่อนเข้าที่พัก แถวพัทยา เพราะคนส่วนใหญ่เดินทางมาเที่ยวพัทยาและแวะมา
ตลาดจีนซากแง้ว อยู่ห่างจากแถวหาดจอมเทียน ประมาณ 15 กม. หรือ ขับรถประมาณ 25 นาทีมาทางหัวยใหญ่ (GPS 12.8322, 100.9663) หา google ช้อมูลเพิ่มเติม https://www.gplace.com/968301
ตลาดจีนซากแง้ว คำว่า “ชาก” ตามพจนานุกรม แปลว่าที่ราบลุ่ม มีความอุดมสมบูรณ์ เหมาะแก่การทำการเกษตร ส่วนคำว่า “แง้ว” ได้มาจากการที่พื้นที่นี้เคยเป็นป่า มีต้นนุ่นที่หนามแหลมมากมาย ชาวบ้านเรียกว่า “งิ้วแง้ว” จึงเป็นที่มาของชื่อหมู่บ้านชากแง้ว คนจีนเรียกว่า “หลง ฉั่ง งิ่ว"
ชุมชนนี้เป็นพื้นที่ที่ชาวจีนแต้จิ๋วอพยพมาตั้งถิ่นฐานอยู่ร่วมกับคนไทยเชื้อสายจีน จากพื้นที่ปลูกมันสำปะหลังเป็นพืชหลัก ค่อยๆ เจริญเติบโตเป็นย่านการค้าที่รุ่งเรือง มีโรงงานโม่แป้ง มีแรงงานจากทั่วทุกสารทิศ กระทั่งเมื่อมีการสร้างถนนสุขุมวิทจึงเกิดความเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ นั่นคือความเจริญและสิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ ย้ายไปที่ตัวเมืองพัทยา แต่ด้วยความเข้มแข็งของชุมชนที่ร่วมใจสืบทอด รักษาวิถีชีวิตและอัตลักษณ์แบบชุมชนจีนดั้งเดิม ปัจจุบันจึงเปิดเป็นถนนสายวัฒนธรรมไทย-จีนโบราณ
ที่จอดรถ มีหลายจุดใกล้ทางเข้าในแต่ละซอย หาไม่ยาก มีเพียงพอต่อความต้องการ ที่จอดรถฟรี:
- จุดที่ 1 (12.83370473237693, 100.96392988746648) ใกล้ทางเข้าโรงหนังเก่า
- จุดที่ 2 (12.831975305661878, 100.96740604278685) ใกล้ท้ายตลาด
- จุดที่ 3 (12.833701302295495, 100.9670678472811) .ใกล้ทางเข้าหลังศาลเจ้าฯ
ก๋วยเตี๋ยว กวยจั๊บ พะโล้ ข้าวต้มปลา ขนมเบื้องญวน หมี่กรอบ กุยช่าย หอยจ๊อ กะลอจี๊ ก๋วยบะแต้จิ๋ว บ๊ะจ่าง ขนมเปี๊ยะ สารพัดอาหารให้เลือกรับประทาน รวมทั้งอาหารไทยพื้นบ้าน เช่น ขนมครก ขนมไทยโบราณ ราคาไม่แพง ที่พลาดไม่ได้คือ บ๊ะจ่าง กุยช่าย เป็ดพะโล้ กะลอจี๊
บ่อน้ำโรงเตี้ยม เป็นเอกลักษณ์หนึ่งของชุมชนที่นี่ เนื่องจากในสมัยก่อนน้ำกินน้ำใช้ยังไม่สมบูรณ์ ชาวบ้านที่ได้มาบุกเบิกตั้งรกรากที่ชากแง้วจึงได้มีการขุดเจาะบ่อน้ำขึ้นใช้เพื่ออุปโภคและบริโภค ทำให้มีน้ำใช้อย่างอุดมสมบูรณ์ ชาวบ้านในชุมชนบ้านอื่นๆก็เจาะบ่อน้ำกันเพิ่ม จนถึงปัจจุบันบางบ้านก็ยังคงมีบ่อน้ำอยู่
ปัจจุบันบ่อน้ำโบราณไม่มีการใช้งาน และก้นบ่อตันแล้ว เป็นสถานที่ที่ให้ได้เที่ยวชมของชุมชนอีกจุดห... read more
ปัจจุบันบ่อน้ำโบราณไม่มีการใช้งาน และก้นบ่อตันแล้ว เป็นสถานที่ที่ให้ได้เที่ยวชมของชุมชนอีกจุดห... read more